สวัสดี

ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

ผู้เขียน หัวข้อ: ปรึกษาปัญหาคดีความ พนมสารคาม โทร 088-6670086  (อ่าน 173 ครั้ง)

admin
  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 51534
    • ดูรายละเอียด
ประกันตัวผู้ต้องหาพนมสารคาม
รับประกันตัวผู้ต้องหาศาลพนมสารคาม โทร 088-6670086 รับจ้างประกันตัว ประกันภัยอิสรภาพ โดยทีมงานมืออาชีพ มีทนายเป็นที่ปรึกษา
ประกันตัวผู้ต้องหาพนมสารคาม , ประกันอิสรภาพพนมสารคาม , ยื่นขอประกันตัวพนมสารคาม  , รับจ้างประกันตัวพนมสารคาม
รับประกันตัวผู้ต้องหาพนมสารคาม ประกันอิสรภาพ ทุกคดี รับประกันตัวให้กับผู้ต้องหาคดีเช็ค ประกันคดีพรากผู้เยาว์ ประกันตัวคดียาเสพติด

บริการเช่าหลักทรัพย์ประกันผู้ต้องหา
ประกันอิสรภาพ มีทั้ง โฉนดที่ดิน เงินสด กรมธรรพ์ และอื่นๆ ปรึกษาปัญหาคดีความพนมสารคาม ต้องการให้ช่วยเหลือโทรมาได้ โทรมาได้เลย ตลอดเวลา นายหน้าประกันตัว รับจ้างประกันตัวพนมสารคาม เช่าหลักทรัพย์ รับประกันตัว มีทีมกฎหมายที่มีความรู้ ความสามารถ ทุกคำแนะนำจึงมั่นใจได้ เช่าหลักทรัพย์ประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย ประกันอิสรภาพ จ้างทนายปรึกษากฎหมายพนมสารคาม
                             
              ติดต่อเข้ามาได้ที่นายประกัน




รับประกันตัวให้กับผู้ต้องหาคดีเช็คพนมสารคาม
ประกันคดีพรากผู้เยาว์พนมสารคาม
  จ้างทนายปรึกษากฎหมายพนมสารคาม
ประกันตัวคดียาเสพติดพนมสารคาม
ประกันตัวจำเลยในคดีอาญาระดับศาลอาญา,ศาลจังหวัดพนมสารคาม
ประกันตัวคดีฆ่าคนตายพนมสารคาม
  จ้างทนายปรึกษากฎหมาย



การประกันตัว หมายถึง การขออนุญาตให้ผู้ต้องหาหรือจำเลย พ้นจากการควบคุมของเจ้าพนักงาน ตำรวจ หรือศาล ตามระยะเวลาที่กำหนด โดยมีประกัน หรือโดยมีประกันและหลักประกันหรือไม่ ก็ได้
 
การปล่อยชั่วคราว หมายถึง การสั่งอนุญาตให้ผู้ต้องหาหรือจำเลยพ้นจากการควบคุมของเจ้าพนักงาน ตำรวจ หรือศาล ตามระยะเวลาที่กำหนด เพื่อไม่ให้ผู้ต้องหาหรือจำเลย ถูกควบคุมหรือขังเป็นเวลานานเกินกว่าจำเลย ในระหว่างการสอบสวน หรือระหว่างการดำเนินคดีของศาล เพราะตามหลักของกฎหมายรัฐธรรมนูญที่ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิด และก่อนที่ศาลจะมีคำพิพากษาถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดกระทำความผิดจะต้องปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำความผิดไม่ได้ หากไม่จำเป็นต้องควบคุมหรือขังผู้ต้องหาหรือจำเลยไว้ ก็ควรที่จะปล่อยชั่วคราวไปตามกฎหมาย จ้างทนายปรึกษากฎหมาย



ทำไมต้องประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา

เมื่อตกเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลย ในคดีอาญา กล่าวคือ
ผู้ต้องหา หมายความถึง บุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระทำความผิด แต่ยังมิได้ถูกฟ้องต่อศาล (ป.วิ.อาญา มาตรา 2 (2)
จำเลย หมายความถึง บุคคลซึ่งถูกฟ้องยังศาลแล้วโดยข้อหาว่าได้กระทำความผิด ศาล (ป.วิ.อาญา มาตรา 2 (3)
 
หลักประกันที่ใช้ในการขอปล่อยชั่วคราว
หลักทรัพย์ที่ศาลรับพิจารณาในการขอประกัน ได้แก่
1. เงินสด
2. พันธบัตรรัฐบาล
3. สลากออมสิน สลาก ธ.ก.ส. พร้อมหนังสือรับรอง
4. สมุดเงินฝากประจำธนาคาร หรือใบรับฝากประจำของ ธนาคาร พร้อมหนังสือรับรองยอดเงินคงเหลือ และรับรองว่าธนาคาร จะไม่ยอมให้ถอนเงินจนกว่าจะได้รับคำสั่งจากศาล
5. หนังสือค้ำประกันของธนาคาร
6. หนังสือรับรองจากส่วนราชการค้ำประกันตามระเบียบ กระทรวงการคลัง
7. หนังสือรับรองกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ พร้อมแสดง ตารางกรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ
8. เอกสารสิทธิเกี่ยวกับที่ดิน ได้แก่ โฉนดที่ดิน น.ส.๓ น.ส.๓ ก. พร้อมหนังสือรับรองราคาประเมินที่ดินที่ออกให้ไม่เกิน 6 เดือน ระวางที่ดิน ภาพถ่ายที่ดิน
9. ใช้บุคคลเป็นประกัน (ใช้ตำแหน่งข้าราชการ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ หรือตำแหน่งทนายความ) โดยต้องแสดงหนังสือรับรอง ตำแหน่งและเงินเดือน หรือรายได้ต่อเดือน ที่ออกให้ไม่เกิน 1 เดือน ใช้ประกันได้ในวงเงินไม่เกิน 10 เท่าของเงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน แต่ในกรณีที่ใช้ประกันตนเองในฐานความผิดซึ่งเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ หรือปฏิบัติงานในการประกอบวิชาชีพให้ประกันได้ไม่เกิน 15 เท่า ของเงินเดือน (คดียาเสพติดใช้เฉพาะบิดา มารดา คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน เท่านั้น)
10. ตั๋วแลกเงินที่ธนาคารเป็นผู้จ่ายและรับรองตลอดไปแล้ว เช็คที่ธนาคารเป็นผู้สั่งจ่ายหรือรับรองและสามารถเรียกเก็บเงินได้ ภายในวันทำสัญญาประกัน
11. หลักประกันเดิมที่วางไว้เป็นประกันต่อพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการโดยจะต้องมีหนังสือรับรองจากพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการรับรองว่าได้วางหลักประกันไว้จริงและจะส่งมายัง ศาลพร้อมกับสำเนาสัญญาประกันและเอกสารเกี่ยวกับหลักประเมินนั้น
12. วางเงินประกันผ่านบัตรเครดิตธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (KTC mastercard) (ธนาคารคิดค่าธรรมเนียม ร้อยละ 1)
 
ศาลมีหลักเกณฑ์อย่างไรในการพิจารณาคำร้องขอปล่อยชั่วคราว

การวินิจฉัยสั่งคำร้องขอปล่อยชั่วคราว ศาลจะพิจารณา ข้อเหล่านี้ประกอบ ดังนี้
1. ความหนักเบาแห่งข้อหา
2. พยานหลักฐานที่นำสืบมาแล้ว มีเพียงใด
3. พฤติการณ์ต่าง ๆ แห่งคดีเป็นอย่างไร
4. ความน่าเชื่อถือของผู้ร้องขอประกันและหลักประกัน มีเพียงใด



การรับจ้างประกันตัวคืออะไรครับ?

กรณีที่จำเลยไม่มีเงินหรือหลักทรัพย์ที่จะมาประกันตัวได้
ก็จะไปติดต่อนายประกันให้มาประกันตัวให้ครับ
 
โดยนายประกันจะเรียกเงินประมาณร้อยละ ๑๐-๓๐ ของราคาประกัน (ขึ้นอยู่กับความเสี่ยง)
เช่น ศาลตีราคาประกัน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท แต่จำเลยไม่มีเงินเพียงพอ
จำเลย(หรือญาติ)ก็จะไปติดต่อหานายประกันให้มาประกันตัวให้
นายประกันก็จะเอาหลักทรัพย์ต่างๆ เช่น โฉนดที่ดิน เงินสด สมุดบัญชีเงินฝาก
กรมธรรม์ประกันภัยอิสรภาพ (เฉพาะบริษัทประกันภัย) มาประกันตัวจำเลยต่อศาล
และเรียกเก็บเงิน ๑๐๐,๐๐๐ - ๓๐๐,๐๐๐ บาท จากผู้มาติดต่อ
 
นายประกันบางรายอาจให้ทำสัญญาค้ำประกันไว้อีกชั้นหนึ่ง
เผื่อว่าจำเลยหลบหนี ศาลสั่งปรับ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
จะได้ตามทวงเอากับผู้ค้ำฯ ได้
 
ปล. สมัยโบราณเรียกว่า "ตีนโรงตีนศาล"
สมัยนี้เรียกว่า "นายประกัน" หรือ "การเช่าหลักทรัพย์"



รับประกันตัวผู้ต้องหาพนมสารคาม
รับประกันตัวผู้ต้องหาท่าถ่าน
รับประกันตัวผู้ต้องหาบ้านซ่อง
รับประกันตัวผู้ต้องหาพนมสารคาม
รับประกันตัวผู้ต้องหาหนองยาว
รับประกันตัวผู้ต้องหาหนองแหน
รับประกันตัวผู้ต้องหาเกาะขนุน
รับประกันตัวผู้ต้องหาเขาหินซ้อน
รับประกันตัวผู้ต้องหาเมืองเก่า